ครอบครัว สังคม ประเทศชาติ
Menu · Home · Services · Book Coverage
ความประพฤติ ทัศนคติ
พระไตรปิฎกฉบับอักษรไทย
งานศึกษาวิจัยร่วม บทสัญญา วิวัฏฏญาณ
หมายเหตุ การอ่าน ต่อไปนี้, คือเรา ท่าน จะอ่านกันไป จากปรู๊ฟไฟล์ ฉบับ ๙๑ เล่ม ที่มีเผยแพร่ทางอินเตอร์เน็ต, ที่หาอ่านได้จาก www.tripitaka91.com, และ www.etipitaka.com เป็นต้น, กิจกรรมนี้กระทำในฐานะส่วนตัวและสาธารณะทั้งนั้น โดยมุ่งจะให้เป็นประโยชน์ทางการศึกษาและความประพฤติ และสำคัญการอุทิศนั้น หวังแก่จิตใจตนให้เป็นอธิการบูชามอบแก่บุคคลอันเลิศ เช่น สมเด็จพระสยัมภูพุทธเจ้า มีมาทั้งหมดเป็นต้น, เรื่องสำคัญนั้น ๆ จากที่แท้เราจะจัดให้อ่าน โดยให้ตน ได้อ่านมีกำหนดตามระยะเวลา ที่ยาวนาน และที่ตนพอจะอ่านไว้ได้โดยละเอียด ตรวจดูทั้งหมดมานี้ นำมาอ่านให้ได้, ก็เรื่องแต่การจะอ่าน ตามนั้น เพราะด้วยทั้งหมดมีข้อมูลจำนวนมาก เฉพาะตั้งต้น การที่เราจะอ่าน เห็นได้ว่า มีมากจำนวน ถึง ๖ หมื่นกว่าหน้าขึ้นไป แค่นับจากฉบับ ๙๑ เล่ม นี้นั้น, ซึ่งเรายังไม่ทันจะได้นับจำนวนยิ่ง ๆ กว่านี้ต่อไป จากฉบับอื่น ๆ ในจำนวนทั้งหมด ซึ่งต่อไป ควรจะเทียบตรวจด้วยกัน ฉะนั้น, เห็นว่า ที่ซึ่งเราจะต้องอ่านมีมาก หากว่าเราคิดจะอ่านให้ได้ทั้งหมด แล้ว, ดังนั้น เราจึงจะต้องได้หมายเหตุไว้ด้วย, ว่าที่ซึ่ง อันใด ว่าที่ตรวจทานดู ประกอบควรที่ตนจะอ่านได้ จากจำนวนเท่าไหร่ ถึงเท่าไหร่ ในเวลาประมาณ หลาย ๆ ปี หรือเป็นไปตามจริงตลอดเวลา จนกว่าเวลาตนจะตาย ยกไว้เป็นอย่างน้อย ก็ต้องอ่านไว้ให้ได้สักฉบับหนึ่ง ข้าพเจ้า นับแต่เวลาที่เริ่มอ่าน จริง ๆ สำคัญแล้วมาก จดทำระบียบเรียบร้อย เรียงสิ่งต่าง ๆ เพื่อการจะอ่าน ไว้ไม่ให้ผิดพลาด นับจากเมื่อราว เดือน พฤษภาคม ปี พ.ศ. ๒๕๕๘ เรื่อย ๆ มา, ที่ตนจะให้เห็นสมควร แก่ปริมาณของข้อมูล ตามเหตุและผล และความต้องการ ที่ตน จะตั้งใจอ่านให้จบ ไปทั้งหมดจริง ๆ ให้จงได้ หากให้นับจำนวน ก็อาจจะเกือบไปถึงเวลา เป็น ๑๐ ปี ก็อาจเป็นได้ ถ้าหากเราอ่านแบบตรวจคำผิด ไปด้วย ด้วยกับการที่เราจะทำรายละเอียดไว้แบบนี้ [...........]
ให้เห็นว่า ถ้าเราเขียน หรือบันทึกไว้ในที่ ๆ ไม่เผยแพร่ เราก็ไม่ต้องตรวจคำผิด หรือไม่คิดว่าจะต้องไปอ่านซ้ำ ๆ ก็ได้ หากว่าเราคิดว่าจะเป็นการจัดการ ต่อความลึกลับแฝงเร้น ที่เมื่อจัดการไว้แล้ว ไว้ให้กับยุคสมัย ตกเป็นเรื่องเกี่ยวแก่ยุคสมัย คราวเดียว เราเตือนตนไปสู่ภพหน้า สมัยอื่นต่อไป ตามแต่เรื่องตรวจคำผิด หรือที่อ่านแล้ว ๆ เล่า ๆ นั้น ดั่งนั้น ต้องแก้ ต้องตรวจให้ถูก ตามที่รู้ว่าเราอาจได้เอกสารและบันทึกการกระทำที่ไม่ขัดหูขัดตา ขัดอกขัดใจ นั้นเราต้องรู้ให้ได้ จะทำให้ดีให้ได้ เพราะเป็นการแก้ปัญหา เพราะรับทุกข์รับสุข เสริมสร้างดูแล แก้ไข เสมอกันด้วยกับส่วนกลาง ซึ่งคำถามนั้น ก็จะต้องนับว่า เราตั้งตนไว้หนัก เราต้องสำนึก จริงใจ ตระหนักดีแล้วว่า ส่วนผิดพลาดนั้น ๆ จะให้ได้อะไร หรือว่าจะพาเราไปที่ไหน
เราจะไม่ได้โจทก์ตั้งเอาโทษ อย่างนั้น แต่จะโจทก์ไว้ว่าจะอภัยโทษ และกลับร้ายให้เป็นดี คืนส่วนสำคัญส่วนดีมาแก่ทุกสิ่งทุกอย่าง ให้ได้ศึกษาค้นคว้าและได้สนิทแน่นแฟ้นกับข้อความอันเป็นอย่าง ของไทย ตามแบบของเราที่โบราณาจารย์แปลมาไว้ และสร้างภาษามาให้ ไว้ไม่ให้หลงลืม และทั้งยังจะได้รักษา อาจให้ได้รู้ด้วย กับธรรมที่เป็นภาษามคธ ที่เป็นคำจากภาษาดั้งเดิมที่ตรัสประทานมาแล้วเป็นแต่คำของพระพุทธเจ้า ซึ่งบางคนคิดว่า เป็นหนังสือ และซ้ำยังจะเป็นแค่ปรู๊ฟหนังสือ คือตัวต้นร่างที่ยังไม่ได้ตรวจอย่างดี ยังไม่ใช่หนังสืออย่างดีที่ต้องคิดอ่าน ที่ต้องคิดสนใจ ให้เป็นหนังสือตรวจดีแล้ว ค่อยสนใจอ่านบ้าง จึงจะถูก คือไม่ได้สนใจที่จะดูส่วน ผิด ๆ พลาด ๆ นั้น ๆ ให้ได้อะไรออกมา
ตั้งตนไว้ในทางไม่ตระหนัก ไม่สำนึกว่า ว่าคุณค่าที่จะทำให้ถูกต้องสมบูรณ์ ว่าคุณค่าที่จะทำให้ออกมาดีจะต้องทำอย่างไร อย่างนั้น เราไม่เอา แต่เราจะต้องดูอย่างละเอียด ให้ชื่อว่า เรารับผิดชอบ ดี-ชั่ว ทุกสิ่งอย่างที่สุด และไปด้วยกับทุกคน แม้ฉบับที่ตรวจพ้นไปแล้วมีที่อื่น ในกลุ่มการอ่านหรือการเรียนที่อื่น ที่ตรวจไปแล้ว หรือได้ทำหนังสือที่ดี ๆ ที่ตรวจดียิ่งกว่าไม่ใช่ปรู๊ฟไฟล์ ดั่งมีอยู่นี้ก็ตาม แต่!ประโยชน์ของเราไม่ใช่แต่อย่างนั้น ไม่ใช่แต่แค่จะสบายรอแต่สิ่งดี ๆ ที่เขาจะนำมาให้ แต่เราจะต้องพอรู้ด้วย ใส่ใจร่วมด้วย ว่าดีร้าย ได้ยากหรือทุกข์อะไรนั้น ๆ กว่าจะได้ดีออกมา มีผิด-ถูก ที่ให้ต้องแก้ไข อยู่อย่างไรบ้าง
หมายเหตุ การอ่าน ต่อไปนี้, คือเรา ท่าน จะอ่านกันไป จากปรู๊ฟไฟล์ ฉบับ ๙๑ เล่ม ที่มีเผยแพร่ทางอินเตอร์เน็ต, ที่หาอ่านได้จาก www.tripitaka91.com, และ www.etipitaka.com เป็นต้น, กิจกรรมนี้กระทำในฐานะส่วนตัวและสาธารณะทั้งนั้น โดยมุ่งจะให้เป็นประโยชน์ทางการศึกษาและความประพฤติ และสำคัญการอุทิศนั้น หวังแก่จิตใจตนให้เป็นอธิการบูชามอบแก่บุคคลอันเลิศ เช่น สมเด็จพระสยัมภูพุทธเจ้า มีมาทั้งหมดเป็นต้น, เรื่องสำคัญนั้น ๆ จากที่แท้เราจะจัดให้อ่าน โดยให้ตน ได้อ่านมีกำหนดตามระยะเวลา ที่ยาวนาน และที่ตนพอจะอ่านไว้ได้โดยละเอียด ตรวจดูทั้งหมดมานี้ นำมาอ่านให้ได้, ก็เรื่องแต่การจะอ่าน ตามนั้น เพราะด้วยทั้งหมดมีข้อมูลจำนวนมาก เฉพาะตั้งต้น การที่เราจะอ่าน เห็นได้ว่า มีมากจำนวน ถึง ๖ หมื่นกว่าหน้าขึ้นไป แค่นับจากฉบับ ๙๑ เล่ม นี้นั้น, ซึ่งเรายังไม่ทันจะได้นับจำนวนยิ่ง ๆ กว่านี้ต่อไป จากฉบับอื่น ๆ ในจำนวนทั้งหมด ซึ่งต่อไป ควรจะเทียบตรวจด้วยกัน ฉะนั้น, เห็นว่า ที่ซึ่งเราจะต้องอ่านมีมาก หากว่าเราคิดจะอ่านให้ได้ทั้งหมด แล้ว, ดังนั้น เราจึงจะต้องได้หมายเหตุไว้ด้วย, ว่าที่ซึ่ง อันใด ว่าที่ตรวจทานดู ประกอบควรที่ตนจะอ่านได้ จากจำนวนเท่าไหร่ ถึงเท่าไหร่ ในเวลาประมาณ หลาย ๆ ปี หรือเป็นไปตามจริงตลอดเวลา จนกว่าเวลาตนจะตาย ยกไว้เป็นอย่างน้อย ก็ต้องอ่านไว้ให้ได้สักฉบับหนึ่ง ข้าพเจ้า นับแต่เวลาที่เริ่มอ่าน จริง ๆ สำคัญแล้วมาก จดทำระบียบเรียบร้อย เรียงสิ่งต่าง ๆ เพื่อการจะอ่าน ไว้ไม่ให้ผิดพลาด นับจากเมื่อราว เดือน พฤษภาคม ปี พ.ศ. ๒๕๕๘ เรื่อย ๆ มา, ที่ตนจะให้เห็นสมควร แก่ปริมาณของข้อมูล ตามเหตุและผล และความต้องการ ที่ตน จะตั้งใจอ่านให้จบ ไปทั้งหมดจริง ๆ ให้จงได้ หากให้นับจำนวน ก็อาจจะเกือบไปถึงเวลา เป็น ๑๐ ปี ก็อาจเป็นได้ ถ้าหากเราอ่านแบบตรวจคำผิด ไปด้วย ด้วยกับการที่เราจะทำรายละเอียดไว้แบบนี้ [...........]
ให้เห็นว่า ถ้าเราเขียน หรือบันทึกไว้ในที่ ๆ ไม่เผยแพร่ เราก็ไม่ต้องตรวจคำผิด หรือไม่คิดว่าจะต้องไปอ่านซ้ำ ๆ ก็ได้ หากว่าเราคิดว่าจะเป็นการจัดการ ต่อความลึกลับแฝงเร้น ที่เมื่อจัดการไว้แล้ว ไว้ให้กับยุคสมัย ตกเป็นเรื่องเกี่ยวแก่ยุคสมัย คราวเดียว เราเตือนตนไปสู่ภพหน้า สมัยอื่นต่อไป ตามแต่เรื่องตรวจคำผิด หรือที่อ่านแล้ว ๆ เล่า ๆ นั้น ดั่งนั้น ต้องแก้ ต้องตรวจให้ถูก ตามที่รู้ว่าเราอาจได้เอกสารและบันทึกการกระทำที่ไม่ขัดหูขัดตา ขัดอกขัดใจ นั้นเราต้องรู้ให้ได้ จะทำให้ดีให้ได้ เพราะเป็นการแก้ปัญหา เพราะรับทุกข์รับสุข เสริมสร้างดูแล แก้ไข เสมอกันด้วยกับส่วนกลาง ซึ่งคำถามนั้น ก็จะต้องนับว่า เราตั้งตนไว้หนัก เราต้องสำนึก จริงใจ ตระหนักดีแล้วว่า ส่วนผิดพลาดนั้น ๆ จะให้ได้อะไร หรือว่าจะพาเราไปที่ไหน เราจะไม่ได้โจทก์ตั้งเอาโทษ อย่างนั้น แต่จะโจทก์ไว้ว่าจะอภัยโทษ และกลับร้ายให้เป็นดี คืนส่วนสำคัญส่วนดีมาแก่ทุกสิ่งทุกอย่าง ให้ได้ศึกษาค้นคว้าและได้สนิทแน่นแฟ้นกับข้อความอันเป็นอย่าง ของไทย ตามแบบของเราที่โบราณาจารย์แปลมาไว้ และสร้างภาษามาให้ ไว้ไม่ให้หลงลืม และทั้งยังจะได้รักษา อาจให้ได้รู้ด้วย กับธรรมที่เป็นภาษามคธ ที่เป็นคำจากภาษาดั้งเดิมที่ตรัสประทานมาแล้วเป็นแต่คำของพระพุทธเจ้า ซึ่งบางคนคิดว่า เป็นหนังสือ และซ้ำยังจะเป็นแค่ปรู๊ฟหนังสือ คือตัวต้นร่างที่ยังไม่ได้ตรวจอย่างดี ยังไม่ใช่หนังสืออย่างดีที่ต้องคิดอ่าน ที่ต้องคิดสนใจ ให้เป็นหนังสือตรวจดีแล้ว ค่อยสนใจอ่านบ้าง จึงจะถูก คือไม่ได้สนใจที่จะดูส่วน ผิด ๆ พลาด ๆ นั้น ๆ ให้ได้อะไรออกมา ตั้งตนไว้ในทางไม่ตระหนัก ไม่สำนึกว่า ว่าคุณค่าที่จะทำให้ถูกต้องสมบูรณ์ ว่าคุณค่าที่จะทำให้ออกมาดีจะต้องทำอย่างไร อย่างนั้น เราไม่เอา แต่เราจะต้องดูอย่างละเอียด ให้ชื่อว่า เรารับผิดชอบ ดี-ชั่ว ทุกสิ่งอย่างที่สุด และไปด้วยกับทุกคน แม้ฉบับที่ตรวจพ้นไปแล้วมีที่อื่น ในกลุ่มการอ่านหรือการเรียนที่อื่น ที่ตรวจไปแล้ว หรือได้ทำหนังสือที่ดี ๆ ที่ตรวจดียิ่งกว่าไม่ใช่ปรู๊ฟไฟล์ ดั่งมีอยู่นี้ก็ตาม แต่!ประโยชน์ของเราไม่ใช่แต่อย่างนั้น ไม่ใช่แต่แค่จะสบายรอแต่สิ่งดี ๆ ที่เขาจะนำมาให้ แต่เราจะต้องพอรู้ด้วย ใส่ใจร่วมด้วย ว่าดีร้าย ได้ยากหรือทุกข์อะไรนั้น ๆ กว่าจะได้ดีออกมา มีผิด-ถูก ที่ให้ต้องแก้ไข อยู่อย่างไรบ้าง | ||
อนุทิน จดการตรวจ ข้อความเผยแพร่
เรื่อง ขอเชิญชวนทุกท่าน ดูหลักฐาน และข้อมูลการตรวจ ที่พบแล้ว
“เรียนสมาชิก ทุกท่าน ที่อาจไม่ห่วงว่าจะต้องหาคำผิด ความพลาด นั้น ๆ ว่าจะต้องหาเอง ก็ขอเรียนว่า โปรดดูไปตามที่ข้าพเจ้าหามาไว้แล้ว ก็ได้, เป็นทางว่าให้เห็น ถึงแม้ว่าจะยังไม่ครบสมบูรณ์ เพราะปริมาณข้อมูลต้องตรวจมีมาก แต่ก็เป็นอันว่ายังหาอยู่ และก็ยังตรวจอยู่เรื่อย ๆ เวลาต่อไป เมื่อหน้า เมื่อโน้น อย่างไร ก็คง เป็นอันต้องครบดี ถูกต้องสมบูรณ์ได้สักวัน
อันผู้ที่เห็นว่า จะมีความเชื่ออย่างหนึ่ง ซื่อตรง เชื่อถือดี ว่าตัวเองจะแก้ชั่ว แก้ผิด กระทำตนและทุก ๆ สิ่ง ไปสู่ความบริบูรณ์ทุกอย่าง, ครั้งอันหนึ่ง วาระอย่างนี้ จะเห็นว่า จะแก้ผิด แก้ความ อันข้อกระเทือนสิ่งเร้นลับมากที่สุด แบบนี้ เช่นนั้น ท่านก็คิดเห็น และคิดจะเชื่ออย่างข้าพเจ้าคิด ดังนั้น ข้าพเจ้า ก็ขอเชิญชวนท่านว่า “ให้ท่านได้มาลงกำลังแห่งการแก้ผิดอันต่าง ๆ นั้น ไว้ด้วยตนเองด้วย” ขึ้นยกไว้เป็นอุทาหรณ์ สำคัญถูก ว่าท่านก็ได้สละจิตกำลัง รุดลงแก้ไขความผิดพลาดให้ดีขึ้นแล้ว ตามสิ่งดีตามภาระหน้าที่ทุกอย่าง จากตัวท่าน อันตรงนั้น ตรงนั้น ที่ควรจะต้องสมบูรณ์ได้ และไม่ให้ผิดพลาดได้ ท่านก็ได้กระทำให้บริบูรณ์สมบูรณ์ หวังจิตจำนงลงว่า แม้แต่ในสิ่ง ในข้อความ ในข้อมูลที่เข้ายึดโยงถึงความเร้นลับ ไว้อย่างสูงสุด อย่างนี้นั้น ก็ด้วย
ในทุก ๆ ที่ ทุกแห่งนั้น หากแต่ละท่าน ละท่านจะลงกำลัง กลับร้ายกลายเป็นดี แบบข้าพเจ้าบ้าง ข้าพเจ้าก็ขอเชิญทุกท่าน ตรวจตาม “สิ่งอันสัมพันธ์กันกับบทพระอักษรสยามของเรา” คือ พระไตรปิฎก ฉบับ ๙๑ เล่ม ที่มีพระอรรถกถาสอนบอก อธิบายไขความไว้ด้วย อันชุดข้อมูลที่ข้าพเจ้า อ่านตรวจ และพอจะรวบรวมไว้ได้บ้างแล้ว ตามที่รวมไว้ที่นี้
เพราะพิจารณาว่า ข้าพเจ้า เรา ท่าน เหลือเกินเวลา ที่ใดแล้ว ข้าพเจ้าไม่ได้แชร์ข้อมูล ออกไปไว้ที่ไหน ๆ ให้ทราบ ถึงไม่ทราบทั่วกันได้ตลอด แต่ก็ได้สำคัญรวมไว้ที่เดียว ในที่ ที่จะให้ทุกท่านไปดู ได้เหมือนกัน ซึ่งว่า หากท่านใดตามไปดู ก็จะได้พบกับข้อมูล ที่ข้าพเจ้าได้รวบรวมไว้ให้ อันสมมุติเป็นที่รองกำลัง รวมกำลัง ไว้แก้ไขความผิด ความพลาด ในบทภาษาทั้งหมด ตามพระไตรปิฎก ที่ซึ่งเป็นภาคภาษาอักษร ชื่อว่า “เป็นภาษาสยาม” เป็นภาษาของชาติไทยเรา”
บัตรประจำตัว ...................................
ReplyDeleteวันเสาร์ที่ 19 มกราคม ค.ศ. 2019 14 นาฬิกา 11 นาที 53 วินาที UTC+7
ตอบ การพิจารณา
“ทีนี้
เราทำไปตาม การแลดู การพ้องกันกับ การแสดงผล แสดงแบบ
ไปตามการเขียนการใช้งานแบบไม่คิดมูลค่า เพราะมีไว้ให้ฝึกหัดและทำเล่นได้
ทดลองไปประการต่าง ๆ ได้ โดยที่เขาไม่ว่าอะไร ฉะนั้น ในบล็อกเกอร์
ซึ่งเราพอเข้าใจได้ง่าย ถ้าเราไม่มัวพาลอารมณ์เสียซะก่อน
ก็คงจะใช้งานได้ถึงอัศจรรย์ ได้ในคุณค่าต่าง ๆ ได้,
จึงควรจะหาทางเอื้ออำนวยการ ให้ตนกระทำไปตามแบบเก่า ๆ ของเขา
ที่เราพอเข้าใจ แล้วเพิ่มพูน สาระ และวางการเขียนไปตามทิศทาง
ของการวางแบบข้อมูล ที่ตัวเราเองพอจะเข้าใจ แล้ว กระทำต่อไปได้”
“ทุกอย่าง
ควรบอกว่า ลองกระทำไว้ และก็ครบพอดี พอดีแก่ความระลึก
ความรอบคอบแก่ความจำเป็นทุกสิ่ง ที่ลงไว้ ครบ,
เมื่อตนจะตระหนักใจคิดไปสู่สาระแล้ว อาจไม่ต้องกระเทือนออกไป
ให้ใครกระทบกระเทือนใจ ยุ่งยาก คือที่เขา
ได้ยุ่งยากกะเรากับวิธีการอันไม่เหมือนกัน ฉะนั้น, เป็นเช่นนี้ ดี เรา
เขียนไว้ในบริการแบบของบล็อกสป็อต หากระทำตนเป็นบล็อกเกอร์ แล้ว
ก็น่าจะถือว่า ดีที่สุด”
“ไปในเรื่อง การออกโพสต์ สำคัญ ๆ
ที่ตรวจจากเอกสารออกมาแล้ว เป็นใบอนุทินจดบอกอันชื่อนั้น ๆ นำมาเรียง
แสดงลักษณ์ เอาอาณัติสัญญาบอกกระทำ เขียนลงไป ตามความเข้าใจ ก็ได้อาจสามารถ
บรรจุข้อมูลครบ เพราะจะลงข้อเขียนและบันทึกไปมากเท่าไหร่ก็ได้
เขียนออกซึ่งการกระทำได้เองอยู่เสมอ ๆ, แต่ฉะนั้น ว่า
จะให้ได้ไปสู่ข้อมูลใดก่อน เช่นนั้น
เราควรพิจารณาถือความจะไปจากเกณฑ์ของปฏิทิน, ว่าอะไร จะให้ดูเป็นเรื่อง
ตื้น ลึก หนา ไกล เรื่องใหญ่ หรือเรื่องเล็ก ก็พึงกระทำสำคัญด้วยใบบอก จรด
ไปตามการจดเขียน รวมล่วงเวลา ร่วมกาลใด ในเวลา เช้า สาย บ่าย ค่ำ หรือเย็น
ไม่ช้า อย่างน้อย ตน ก็จะได้ฝังข้อมูลอย่างหนึ่ง ได้
ซึ่งตนนับถือว่าเป็นข้อมูลชนิดดี แล้วให้ลงเอาไว้ในระเบียบ
และโครงร่างของเรื่องราว”
“ตามแต่เรื่องราว ที่ควรจะสนิทได้จริง ไปตรงตามที่ใจ ควรจะฝันใฝ่ หวังความรับสุข ทุกข์ ผิด ชอบ ดี ชั่ว ไปในทุก ๆ สิ่งนั้น ”
บัตรประจำตัว ...................................
ReplyDeleteวันจันทร์ที่ 21 มกราคม ค.ศ. 2019 10 นาฬิกา 21 นาที 22 วินาที UTC+7
ตอบ การพิจารณา
“เรื่อง
รายการเงินบริจาค หรือการให้เงินบำรุง โครงการ หรือองค์กรอะไรนั้น
ถ้าพูดไปตามทางวิเศษใจคิด, โดยที่เรา ไม่ได้มีหน้าที่ด้วยตน
โดยฐานตามรับผิดชอบ ที่เกี่ยวกะเงิน กะทอง อันจะให้จะรับอยู่ตรงไหน
แล้วเป็นของตน, เพียงแต่พูดความจริงตามสำคัญไปว่า หากเรา ท่าน
ใครเขาขาดลงซึ่งทรัพย์ บทกำหนดปัจจัยในการบำรุง, หากว่า มีใครถาม
เกี่ยวแก่การจะบริจาคทรัพย์ไปให้ทางนั้น ว่าให้กิจธุระดั่งนั้น อำนวยการ ดี
ในหน่วยประโยชน์ นั้น ๆ ต่อไปได้, โดยฐานที่เขา ก็ยอมรับ ประกาศ
และการกระทำ ว่าเขาก็สัญญาว่าจะไปทำคุณประโยชน์
ตามที่เขาได้อ้างและได้กระทำอยู่, อย่างนั้น ข้าพเจ้าก็ชอบใจ
และอยากจะให้บริจาคไปดั่งนั้น ได้”
“นั้น การดั่งนี้ โปรแกรม
กระทำรูปภาพ ซึ่งให้ออกมาได้ง่าย, และให้ไฟล์เสียง ที่มีคุณประโยชน์ นั้น
ได้ตั้งอยู่และทำงาน ได้ ด้วยแบบวิธีที่ง่าย แลสะดวกให้คนธรรมดา ใช้ทำบล็อก
หรือเว็บไซต์ได้, ดังนั้น เช่นนั้น การบริจาคไปทางนั้น
ข้าพเจ้าเห็นว่าชอบ สมควร, และแม้นว่า หากข้าพเจ้า ต้องเป็นบุคคล
ที่ต้องมีเงินมีทอง ได้ความจับจ่ายใช้สอย และจำเป็นต้องบริหาร
ไปซึ่งสัดส่วนตามที่ยังกระจายออกไป ไม่พอดี ข้าพเจ้าเอง
ก็จะขอบริจาคทรัพย์ไปสู่ตรงนั้น ด้วย เพื่อให้กิจการธุระ
ที่ส่งเสริมให้เกิดความดีทางความคิดอย่างยิ่งใหญ่ ได้ดำเนินการไป
และอยู่ได้ด้วยดี แล้วได้ไปกับเรื่องราวต่าง ๆ ไปได้อย่างเต็มที่”
บัตรประจำตัว ...................................
ReplyDeleteวันอังคารที่ 29 มกราคม ค.ศ. 2019 6 นาฬิกา 56 นาที 5 วินาที UTC+7
ตอบ การพิจารณา
“หากนำเอาสิ่งทีเรียกว่า
จะช่วยแก้ปัญหา และทำร้ายให้กลายเป็นดี, ก็มีวิธีแล้ว คือ
ที่เราตามแก้คำผิดอยู่ เป็นธรรมวิจัย วิจาร ไปสู่ ความซึ่งไม่ผิด
ตามเป็นจริง อันมีแต่ ควรจะต้องเป็นไปตามธรรมดานั้น
ที่ซึ่งควรถูกต้องทั้งอรรถะ พยัญชนะ ทุกแห่ง และถูกไปในทางที่จะปฏิบัติ
ไปในประโยชน์ของชนทุกฝ่าย, เราเป็นคนที่จะหาความผิดพลาดบกพร่อง
ความไม่พอเหมาะแก่ประโยชน์ ของจำพวกอักษรสาส์น ทั้งปวง ในยุคนี้
ตามที่ตนได้มีชื่อแล้ว แลเห็นด้วยพอใจแก่คำปฏิญาณ ที่พอควรจะอนุโลมบทว่า
คาบเกี่ยว ไปแค่เฉพาะพอเวลาตลอดช่วงอายุของเราเอง,
แลทำไปโดยที่ไม่ต้องลังเลใจ ฉุกใจอะไร ในส่วนซึ่ง
เป็นประโยชน์ตามธรรมดาดีอยู่แล้ว, ควรคิดแค่ว่า จะพอรักษาสายสัญญาณ
ไว้ให้ได้เท่านั้น จากนั้น, ควรคิดแค่กระทำว่า ทำอะไรได้ ก็จงทำ
เมื่อทำไปสู่ทางแก้ผิด เมื่อนำไปสู่ทางที่จะกระทำให้สมบูรณ์ แล้ว
ย่อมจะเป็นทางสม เหมาะใจตนแก่ความพากเพียร และความปรารภตน
อันเป็นไปก็แต่ในภาระหน้าที่ ที่จะต้องดูไปตามเอกสารเท่านั้น
จึงจะกระทำไปได้ถูก”
บัตรประจำตัว ...................................
ReplyDeleteวันพุธที่ 30 มกราคม ค.ศ. 2019 6 นาฬิกา 59 นาที 59 วินาที UTC+7
ตอบ การพิจารณา
“เมื่อไม่มีอะไรน่าเกลียด
ในสิ่งต่าง ๆ และสิ่งต่าง ๆ นั้น ล้วนแล้ว
ต่างได้มีความหมายลึกลงไปในทางอัศจรรย์ทั้งสิ้น เช่นนั้น
ก็ไม่ควรจะต้องมัวมาเปลี่ยนแปลงอะไรให้มากนัก อยู่ตลอด
เพราะเป็นสิ่งที่เราไม่ต้องไปคอยตามเปลี่ยนแปลง ในสิ่งที่จะตั้งไว้นาน ๆ
ได้ เพราะว่ารูปสัญลักษณ์ ในทางลึก ซึ่งชวนคิด ไปในทางละเอียดยิ่งขึ้น
ก็ได้แสดงไว้อยู่ ถึงการณ์ว่า ควรจะไม่ต้องเปลี่ยนแปลง เลย
ตามรูปแบบที่ใช้อยู่นี้ ซึ่งก็คงอาจจะยังน่าชอบใจมาก ยิ่งกว่า
การที่จะต้องเปลี่ยนแปลงไปอยู่ตลอดเวลา ของหน้าตา รูปแบบ และรูปร่างของงาน
อันที่ซึ่งเราควรจะตั้งไว้ แบบใดแบบหนึ่ง โดยที่เราไม่ต้องมัวไปเปลี่ยนแปลง
ปรับเปลี่ยน ไม่หยุด ว่าโดยที่แท้แล้ว ฉะนั้น ถึงข้อใจความสำคัญอะไร
ก็อาจจะต้องขาดจากการศึกษาลงไป เพราะว่า
เรามัวแต่คิดแค่สนใจต่อรูปแบบของการนำเสนอ
มากกว่าการลึกซึ้งถ่องแท้ลงไปในข้อมูลและบทพิเคราะห์
ที่ควรจะพิจารณาให้ถึงที่ตระหนัก ตามที่ได้มา จนถึงคำสอนที่ดีอย่างไร
กระนั้น เราก็ไม่ได้ติดตราตรึงใจไว้เลย
เพราะว่าขวนขวายคิดจะสนใจต่อเติมแต่รูปแบบอะไรมากยิ่งขึ้น
ให้มากไปยิ่งกว่านั้น”
บัตรประจำตัว ...................................
ReplyDeleteวันศุกร์ที่ 1 กุมภาพันธ์ ค.ศ. 2019 7 นาฬิกา 58 นาที 08 วินาที UTC+7
ตอบ การพิจารณา
“เหตุการณ์ หรือคำสำคัญเป็นจารึก ที่พูดถึงนี้”
“จะว่า
เขาคงไม่อยากได้ความสุข ในการขีดเขียน หรืออย่างไรไม่ทราบ
เพราะชื่อนั้นเริ่ม แต่คำว่าเป็นสุข, โดยแต่การรับผิดชอบ นั้น
ด้วยการทำมายา คือพูด หรือแสดงข้อความนั้น ด้วยมายา, มายาฉะนั้นเอง ไม่ดี
เพราะว่า เป็นไปถึงคำกล่าว หรือการแสดงออกไปในทางไม่จริง
และสรุปการให้พัฒนาสิ่งต่าง ๆ ไปตามทิศทางของการกล่าวหาที่ไม่เป็นความจริง
คือกล่าวไปในสิ่งที่ไม่ควรจะเป็นจริง คือว่า ไม่ต้องสุข ฉะนั้น”
“จากที่ควร
ที่แค่จะกล่าวว่า จริง ในทางดี และจะไปถึงความสุขชนิดที่ดีแล้วจะอย่างไร
คือ ทุกคนไม่ควรเข้าใจแก่บาป หรือทุกข์อะไรทั้งสิ้น, ในเมื่อสมมุติว่า
ต้องเข้าถึงความสุข แล้วเมื่อตัวชื่อคนนั้น
อันตั้งชื่อที่ต้องไว้เข้ากับปฏิญาณได้ จึงอาจกระทำได้
และรับนำเอาความรับผิดชอบแท้ ๆ มา ให้เป็นส่วนที่เข้ากระทำสำคัญ, ดังนั้น
คนนั้น ๆ ทั้งนั้น ก็ย่อมจะชื่อว่า ถูกกินแรง ถูกบั่นทอน
และถูกเอาเปรียบอยู่ตลอดเวลา ตามระยะเวลา
ของการพูดให้ผิดไปจากชื่อที่ตั้งไว้ ตามเวลา
ที่ข้อความอย่างนั้นยังคงแสดงอยู่, เพราะว่า ความหมายของข้อความเหล่านั้น
บั่นทอน ต่อความหมายที่ควรเป็นจริง ของชื่อตามปรกติ ที่เป็น
ที่ได้ตั้งไว้เป็นหลักอยู่ก่อนแล้วนั้น”
“ฉะนั้น พอแค่จะถามว่า
ตนอยู่กะความสำคัญแก่งานที่ตรงไหน ซึ่งพอรู้หลักเหตุผล ที่ควรใส่ใจ
แล้วกระทำได้บ้าง, อย่างไร พึงถือสาระตามชื่อโดเมน ชื่อหลักที่อยู่
(เว็บไซต์) แล้วไม่ผิด แล้วให้อาจแปรความเข้าใจไปจากคำนั้น ถึงจะถูกต้อง,
แล้วก็จึงจะไม่ผิดที่ แลเมื่อว่า ไม่ผิดที่อยู่แล้ว
เช่นนั้นก็จึงจะไม่ต้องผิดคุณธรรม”
🦉
Deleteหมายเหตุตามเวลา?
3 6509 00023 80 4
เรื่องของโลกนี้ ในการ ที่จะซ้อมความ ว่ากล่าว ไปแก่อุบายของลัทธิ ด้วยมุ่ง แสดงธรรม และทิฐิ ไปตามนัยแห่งอุดมคติของท่าน ซึ่งผู้ดีต่าง ๆ พวกเรา ก็จะต้องกระทำด้วยวิธี อันแต่ ด้วยการซึ่งตามรักษา โดยทิศ และความเป็นไปในทิศ จรดไปในที่นี้ , ซึ่งก็จะต้องมาจับความ หรือชี้จุดไปที่เวลา ที่ท่าน ลงตั้งโพสต์แล้วโพสต์ลงมาให้รู้ ว่าก่อนจะตอบ หรือถามไป ต้องพึงรู้ก่อนว่า โพสต์ออกมา เมื่อเวลาเท่าไหร่?
ตามโพสต์ กรณีนี้ เราท่านทุกคน เห็นว่า ท่านได้โพสต์ตามนัย เมื่อเวลา ๘:๑๑ นาฬิกา , ฉะนั้น เมื่อได้ทราบดั่งนี้แล้ว ก็ย่อมที่จะรู้บท รู้ลักษณะพึงประสงค์ ที่จะ ว่ากล่าวแสดงธรรม ไปให้เกิดประโยชน์ โดยที่จะต้องมีการเทียบไปแก่รายการ แต่ซึ่งฉบับแห่งพระปิฎกธรรม ที่มีวิธีการตรวจสอบ ตามภาคแห่งงานที่ได้รวบรวมพิสูจน์อักษร ตามมูล ตามค่า สูงต่ำ แลกว้างลึก ของข้อเรื่อง ของบท ไปตามฉบับ ม…
🦉
หมายเหตุตามเวลาของท่านผู้ใช้
Dusadee Angsumethankoon
เมื่อก่อนโน้นประวัติศาสตร์ ย่อมแต่ให้เห็นว่า ไทยควรเรียนภาษาจีน เพราะเขาได้มีแต่จักรพรรดิ์ หรือกษัตริย์ที่ใหญ่กว่า ตามวิธีดี ที่เป็นมาแต่ปุราณ เก่า , แต่ว่าเมื่อนี้แล้ว รังเรื่องรังความแผ่นดิน , เรื่อง แผ่นดิน! ก็เป็นแผ่นดิน เป็นรังวัดรังเขต ทั้งโลก คือโลก และพลเมืองของโลก ต่อไป ก็ย่อมจะต้องมียอดของพลเมืองขึ้นไปอีกครั้งหนึ่ง , ทีนี้ ท่านผู้รู้บางสำนัก ที่ชำนาญการเตือนคติแห่งธรรมคดี ท่านก็กล่าวแสดง กันไปแบบทีเล่นทีจริง แล้วบ้าง คือกล่าวทางปรึกษาอนาคตของโลกมนุษย์เรา ดั่งกล่าวนี้ ต่อกันว่า , ความชอบธรรมแห่งตระกูลอ๋อง หรือตระกูลเจ้านายราชากษัตริย์ หลายร้อยหมื่นปีแห่งอนาคต ณ เมื่อที่โลกพร้อมที่จะทำการผสาน ระบบจักรวาฬวิถี ก็ย่อมเห็นว่า ประเทศไทยเรา มีราชากษัตริย์ แน่วตรง ไม่ขาด ต่อเนื่องมาอย่างกล้าแข็ง และจริงจังในฝ่ายดี ต่อเนื่องมา ฉะนั้น, เมื่อถึงเวลา ก็ย่อมต้องถึงที่ควร แต่บัลลังก์ ซึ่งเป็นยอดทั้งปวง ของแต่แผ่นดิน ของโลก , แล้วนั้น เมื่อเรารู้เห็น ตามความอย่างนี้บ้างแล้ว ก็ย่อมแต่คิดเห็นว่า โดยสภาพยืนนาน และยั่งยืน เรื่องที่ไทยจะควรเรียนภาษาจีนนั้น ไม่ใช่! แต่จีนต่างหากที่ท่านควรมาเรียนภาษาไทย เพราะว่าจะต้องไปครองบัลลังก์แห่งแผ่นดินของโลก ไปจากทางนี้…
“กล่าวพูดไปถึงเรื่อง สมณ! ในเรื่องสมณะนี้ โดยทั่วไปท่านก็จะต้องมาสนใจด้วยกันว่า เบื้องซ้าย! หรือขวา! , เพราะว่า การที่ จะสนใจว่า สมณะใด เบื้องล่าง! หรือเบื้องบน! ย่อมมิมีที่ใดให้สนใจดั่งนี้ และเพราะแม้นว่า ไปในเรื่องของประชา หรือราชาจักรพรรดิ์ ก็ยังท่านต้องสนใจ ด้วยความเป็นไปในทิศ? , คือสนใจแก่บทว่า ‘ใดคือทิศเบื้องหัวนอน’ แต่นั้นเป็นโดยทางเบื้องขวาง ฉะนั้น
ReplyDeleteเพราะหนึ่ง พึงจะต้องทราบกันดีอยู่แล้วว่า การจะนอนไสยาในท่าสมาธิ หรือกระทำด้วยอิริยาบถในทางสมาธิ ก็เป็นอันว่า กำหนดอยู่ด้วยทิศเบื้องบน คือเบื้องสูง! แล้วเบื้องบนหรือเบื้องสูง ฉะนั้นเอง ก็ยังต้องแยก ยกจิตขจิตไปตามความเชื่อ อันจรรโลงใจ ก็เห็นว่า การเมื่อเห็นสมณะ นี้ ก็เรื่องอรหันต์ ๘ทิศ เป็นต้น
คือผู้เพียรพบตนในทางจิตจริยา อาการ ฉะนั้น ท่านก็จะต้องมาหน่วงเหนี่ยวการพิจารณา ให้มั่นอยู่กับความจริง ตรงที่ สมณะที่๑ ในทิศนั้น สมณะที่๒ ในทิศนั้น สมณะที่๓ในทิศนั้น สมณะ ... นั้นแล้วตนตกเป็นผู้ท่ามกลาง อยู่โดยเบื้องต้น และเบื้องปลายที่สุด มิมีพบเห็น แลก็จึงจดสนิทกันไป ตรงกันกะกระแส อันไม่เป็นทาง ซึ่งให้ความต้องกระพือไป ในความเพ้อเจ้อ
แล้วก็จักกล่าวต่อ แต่ความมีขันติ มีสันติสงบตั้งมั่นอยู่ จะให้กิเลสเบาบาง จะให้ทางชั่วระงับ สถิตซึ่งกุศลกรรมบถบริสุทธิ์เป็นความยั่งยืน อันนี้ก็คือการที่จะให้เห็นสมณะ ไปตามประเพณีของการเห็น หรือให้รู้สำเหนียกมั่น ลงซึ่ง ในตำราก็ปรากฏสาธยายอยู่ว่า พระพุทธเจ้าแม้นทรงดำเนินองค์เสด็จด้วย โดยกรณีให้พระองค์เอง เป็นสมณะที่๒ ไปในที่นั้นด้วยก็มี , ซึ่งอันข้อนี้ความ คงจะเป็นไปด้วยพระหฤทัย หรือความมุ่งตามธรรม ชนิดที่ว่า
สมณะที่๑ ท่านนั้น จะได้สำเร็จแก่องค์คุณตามประสงค์ ที่จะสำเร็จสมณจิตทั่วถ้วน ไปแด่ทิฏฐิธรรมมีประโยชน์ แล้วไม่ให้กระทบความเจริญก้าวหน้าในทางกุศล ก็จึงจะเป็นความตั้งมั่นในความพากเพียรที่ให้ผลมาก และดี , คือย่อมดี ในฝ่ายที่เรียกว่า เป็นสมณะที่๑ ในลักษณะที่เป็นเหตุ! เป็นปฐม วิวัฒน์พัฒนาการแด่ความเจริญรุ่งเรื่อง ณฉะนั้น กุศล อยู่ในที่ท่ามกลาง เบื้องต้น แลเบื้องปลายที่สุด ย่อมหาไม่พบ”