DP Kasi

ปิรามิด 
สมมุติ อินทระบัณฑิต

กระบวนการพิจารณา บัญชีระบบ


สถานะ ห้องปฏิบัติการ

      หมายถึง รูปทรง โครงสร้าง รูปร่างเหลี่ยม ทรงกรวย แต่ว่า ทำลักษณะเป็นเหลี่ยม มีเหลี่ยม คือ จำพวก โดมของหลุม หรือแท่ง ทรงเรขาคณิต ทรงหลังคานั้น รูปทรงอย่างปั้นหยา นั้น ว่าทรงปิรามิด วัตถุรูปอย่างกะภูเขา หรือเนินย่อม ๆ อันที่มีรูปทรงเป็นเหลี่ยม มีปริมาตร ประกอบด้วยรูป 3 เหลี่ยม รวมกัน 4 ด้าน หรือ จำนวนกี่ด้านก็ตาม ที่คิดเห็น คล้าย ๆ อย่างนั้น ให้เป็นเหมือนรูปทรงกรวยแต่มีเหลี่ยม มียอดแหลม ปลายบอกตำแหน่ง แทงขึ้น ชี้ฟ้า มีฐานแผ่กว้างขยายออกมา เป็นเหมือนกับทรงหลังคาที่ไม่มีตัวอาคาร แบบนั่นแหละ เช่นนั้น แต่ว่าจะต้องมีขนาดใหญ่ แล้วจึงให้คนโจทน์ชื่อ เรียกได้ว่า pyramid (ปิรามิด) ตามชื่อ พีรามิด อย่างนั้น อย่างนี้, อยู่ ณ ที่นั้น ที่นี้” 

      เช่น “หลุมฝังพระศพ ของกษัตริย์ฟาโรห์ ของชาวอียิปต์ เรียกว่า พิระมิด หรือจะว่า ปิรามิด, เช่นนั้นเอง คำนี้ คุณคิดว่า ที่แท้แล้ว พวกเราทุกคน ควรจะต้องกำหนด และบอกให้เขียนแบบใด?” 

      ผู้สนใจศึกษา ทุกแห่ง พบว่า มีการใช้คำนี้กันอยู่ทั่ว ๆ ไป เขียนไปเองตามใจชอบ จากคำว่า pyramid (ว่า ปิรา-)ให้พบเห็น มีแล้วมากมาย (ว่า พีระ-), แต่จะยังขาดนัก ขาดแต่ว่า จะยังไม่ค่อยจะแน่ใจอะไรได้ ให้ว่าควร ที่อนุยนต์บัณฑิตของเรา ชาติเรา ประเทศเรา ต้องมี และจะต้องบอก สั่งกัน จะกะเกณฑ์ให้เขียนได้กี่แบบ กี่อย่างบ้าง ก็จงได้บอกแก่ราษฎร บอกแก่ประชาชน ให้บอกกับทุกคนเรา ให้ได้รู้ความบ้าง เสียทีเถิด


ที่มา : In3™ (อินทร์)

No comments:

Post a Comment